Category Archives: กฎหมาย

หุ้นในบริษัทจำกัด

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทั้งหลายในวันนี้ผมจะมาชวนพูดคุยกันในเรื่องหุ้นของบริษัทจำกัดนะครับ อย่างที่ทุกท่านทราบกันอย่างดีจากบทความในตอนก่อน ๆ ว่าในบริษัทจำกัดซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายจะมีการแบ่งการถือครองออกเป็นหุ้น

สัญญาสำหรับธุรกิจ ตอนที่ 2

สัญญาเป็นหนังสือ คือ เอกสารที่รวบรวมบรรดาข้อตกลงและข้อกำหนดต่าง ๆ ของคู่สัญญาที่เกี่ยวข้องกับนิติกรรมหรือปฎิสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญาในเรื่องนั้น ๆ โดยในทางปฎิบัติ สัญญาแต่ละฉบับจะกำหนดรายละเอียดของแต่ละเรื่องเอาไว้ในแต่ละหัวข้อเพื่อความง่ายในการอ้างอิงในภายหลัง โดยสัญญาแต่ละฉบับควรมีเนื้อหา หรือลักษณะอย่างน้อยดังต่อไปนี้ครับ

สัญญาสำหรับธุรกิจ ตอนที่ 1

ในการทำธุรกิจ จะเลี่ยงไม่ได้เลยนะครับที่ต้องมีการเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์กับผู้คนมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ลูกจ้าง คู่ค้า หรือลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปฎิสัมพันธ์ที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนมูลค่าซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือในทางธุรกิจ การซื้อขายสินค้าหรือบริการ การจ้างเพื่อให้บริการหรือทำของ หรือการจ้างงาน เกิดขึ้น สิ่งเหล่านี้ในทางกฎหมายเราเรียกว่า “นิติกรรม”

ประมวลกฎหมายแพ่งอัพเดตใหม่ ไฉไลกว่าเดิม!!

ว่าด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียกได้ว่า เป็น 1 ใน 4 กฎหมายที่สำคัญของประเทศไทยเลยนะครับ (อีก 3 กฎหมายได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา) เป็นกฎหมายที่มีการตราขึ้นมาบังคับใช้นานมากกก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 โน่นแหละครับ โดยนับแต่มีการเริ่มบังคับใช้มา ก็มีการปรับปรุงและแก้ไขเนื้อหาของกฎหมายฉบับนี้มาเรื่อย ๆ เพื่อให้เข้ากับสภาพทางสังคมในแต่ยุคสมัย (แต่บางทีก็ช้าเสียเหลือเกิน เหอะๆ) การแก้ไขที่รอคอย (มานานแล้ว) หลังจากที่รอคอยการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มานานแสนนาน ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 สิ่งมหัศจรรย์ก็ได้ถือกำเนิดขึ้น (ว่าไปนั่น!!) คือการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เพื่อให้เกิดความทันสมัย (ขึ้นอีกนิดนึง) โดยมีการแก้ไขทั้งหมดหลายมาตรา แต่ที่ผมจะมีนำเสนอวันนี้เป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องและใช้กันบ่อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัททั่วไปนะครับ โดยผมสรุปมาให้ในตารางด้านล่างนี้เลยครับ ผลกระทบจากการแก้ไขครั้งนี้ ในการแก้ไขครั้งนี้แม้จะเป็นการแก้ไขไม่กี่มาตรา แต่ก็สามารถทำให้การเริ่มต้นการประกอบธุรกิจสามารถทำได้ง่ายขึ้นเยอะเลยนะครับ เช่น การเริ่มต้นจดทะเบียนตั้งบริษัทจำกัด มีกันแค่ 2 คน ก็สามารถตั้งบริษัทได้แล้ว หรือการเพิ่มความสะดวกด้วยการที่สามารถให้มีการกำหนดการประชุมของกรรมการได้โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (การประชุมผ่านวิดีโอคอนเฟเรนซ์ เช่น Google Meet, Zoom […]

ลงทุนอย่างไรไม่ให้ถูกโกง

สำหรับท่านใดที่ชื่นชอบการลงทุน ในวันนี้ผมจะมาแชร์ลักษณะของการลงทุนที่มีความเสี่ยง รและข้อควรปฏิบัติ เพื่อให้ท่านระวังและนำไปปรับใช้ก่อนที่จะเข้าลงทุนในกิจการใด ๆ นะครับ ซึ่งหากได้นำไปพิจารณาใช้แล้ว จะช่วยลดความเสี่ยงของการลงทุนของท่านลงได้มากทีเดียวครับ

ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัลง่ายนิดเดียว!

ในปัจจุบันรัฐบาลได้มีความพยายามในการผลักดันการทำงานภาครัฐให้มีความทันสมัยและมีความสะดวกสบายมากขึ้น หนึ่งในหน่วยงานที่นำร่องการดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้คือ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่ให้บริการ “ระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล” (DOPA-Digital ID)

บริษัทจำกัด: เรื่องพื้นฐานที่ผู้ประกอบการควรรู้

ในการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันนอกจากผู้ประกอบการที่เป็นบุคคลธรรมดาแล้ว ยังมีความนิยมจากผู้ประกอบการทั้งหลายในการจดทะเบียนนิติบุคคลขึ้นมาต่างหากเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจอ่ีกด้วยนะครับ และนิติบุคคลที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 1 นั่นก็คือ บริษัทจำกัด ครับ

บริษัทจำกัด: เรื่องควรระวัง

อย่างที่ผมเคยได้กล่าวไว้ในตอนก่อน ๆ ว่า บริษัทจำกัดมีข้อดีมากมายและเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินธุรกิจอย่างมั่นคงและยั่งยืนนะครับ แต่ด้วยเหตุที่บริษัทจำกัดโดนออกแบบมาเพื่อให้บุคคลหลาย ๆ คนเข้ามามีผลประโยชน์ร่วมกันในฐานะผู้ถือหุ้นของบริษัท

กฎหมายที่ผู้ประกอบการควรรู้และทำความเข้าใจ ตอนที่ 3

legal knowledge, business law.

ตอนสุดท้ายของซีรี่ย์ “กฎหมายที่ผู้ประกอบการควรรู้และทำความเข้าใจ” ที่จะนำทุกท่านไปพบกับความรู้เบื้อต้นของกฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

กฎหมายที่ผู้ประกอบการควรรู้และทำความเข้าใจ ตอนที่ 2

legal knowledge, business law.

ตอนที่ 2 ของซีรี่ “กฎหมายที่ผู้ประกอบการควรรู้และทำความเข้าใจ” ที่จะนำทุกท่านไปพบกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายเกี่ยวกับตัวแทน และการรับผิดต่อบุคคลภายนอกร่วมกันกับลูกจ้าง